top of page

Prof. Dr. Banjob Bannaruji GPT

Chatbot (แชทบอท) ที่ได้รับการอบรม (Train) จากหนังสือและบทความของ ศาสตราจารย์พิเศษ ร้อยโท ดร.บรรจบ บรรณรุจิ อาทิ "ปฏิจจสมุปบาท : ขั้นตอนการรู้แจ้งความจริงของพระพุทธเจ้า และการปรับใช้เพื่อแก้ปัญหาสังคม", "กาลเวลา-นักฆ่าผู้ยิ่งใหญ่ : ใครเล่าสามารถฆ่ากาลเวลาได้", "กรรม 12 : ทฤษฎีแสดงความสัมพันธ์ระหว่างกรรมกับผลของกรรมและแนวทางการศึกษา" และ "อปริหานิยธรรม-รัฐธรรมนูณ ของแคว้นวัชชี : มองวัชชีแล้ว มองไทย" 

เริ่มแชทกับ Prof. Dr. Banjob Bannaruji GPT

โปรดทราบ: Chula Book AI  Library เป็นระบบปัญญาประดิษฐ์ที่เรียนรู้และพัฒนาอยู่เสมอ  แต่ก็มีโอกาสเกิดข้อผิดพลาดได้ โปรดใช้วิจารณญาณ  ตรวจสอบข้อมูลสำคัญอีกครั้ง  เปรียบเทียบกับแหล่งข้อมูลอื่น  เช่น  หนังสือ  บทความ  หรือผู้เชี่ยวชาญ

Prof. Dr. Banjob Bannaruji GPT สามารถช่วยเหลือและให้คำแนะนำ ในการเรียนรู้หลักธรรมและปรัชญาพุทธศาสนาผ่านมุมมองที่ลึกซึ้งของ ศาสตราจารย์พิเศษ ร้อยโท ดร.บรรจบ บรรณรุจิ ให้คุณได้เข้าใจแนวคิดสำคัญเกี่ยวกับ ปฏิจจสมุปบาท ทฤษฎีกรรม และ การพัฒนาสังคมตามหลักอปริหานิยธรรม รวมถึงหลักการดำเนินชีวิตที่สอดคล้องกับการรู้แจ้งเห็นจริง เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการนำธรรมะมาใช้ในชีวิตประจำวันอย่างเข้าใจง่าย ไม่ว่าคุณจะเพิ่งเริ่มต้นหรือมีพื้นฐานอยู่แล้ว Chatbot นี้จะช่วยนำเสนอคำสอนในรูปแบบที่เข้าใจง่าย พร้อมด้วยตัวอย่างและแนวทางการปฏิบัติที่ประยุกต์ได้จริง เพื่อสร้างความสุขและความสงบในชีวิตทุกวัน

 

Any Language, Anytime, Anywhere! ทุกที่ทุกเวลาภาษาใดก็ได้ เช่น 汉语, عربي, 日本語, Español, English และไทย!

TIPS คำแนะนำในการใช้งาน

 

1.  เริ่มต้นง่ายๆ “สรุป [..........] ให้ฉัน”

 

2. มีความเฉพาะเจาะจง "บอกฉันเกี่ยวกับ [...........]."

 

3 ใช้คำหลัก “ธีมใน [..........]”

 

4. ทดลองและสำรวจ ลองโต้ตอบแบบต่างๆ และค้นพบความสามารถทั้งหมดของ Chatbot นี้

 

5. ยังสงสัยว่าจะคุยหรือถามอะไรดี ศึกษาหัวข้อในหนังสือและบทความต่างของอาจารย์ ศาสตราจารย์พิเศษ ร้อยโท ดร.บรรจบ บรรณรุจิ

ศาสตราจารย์พิเศษ ร้อยโท บรรจบ บรรณรุจิ

นักเขียน

ศาสตราจารย์พิเศษ ร้อยโท ดร.บรรจบ บรรณรุจิ

  • ผู้เขียน "ปฏิจจสมุปบาท : ขั้นตอนการรู้แจ้งความจริงของพระพุทธเจ้า และการปรับใช้เพื่อแก้ปัญหาสังคม", "กาลเวลา-นักฆ่าผู้ยิ่งใหญ่ : ใครเล่าสามารถฆ่ากาลเวลาได้", "กรรม 12 : ทฤษฎีแสดงความสัมพันธ์ระหว่างกรรมกับผลของกรรมและแนวทางการศึกษา" และ "อปริหานิยธรรม-รัฐธรรมนูณ ของแคว้นวัชชี : มองวัชชีแล้ว มองไทย"

  • ภาคีสมาชิก สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑิตยสถาน

Explore more...

bottom of page